Day: June 3, 2024

รู้หรือไม่!? ต้นไม้ 1 ต้น สามารถดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ช่วยดักจับฝุ่นและมลพิษในอากาศได้รู้หรือไม่!? ต้นไม้ 1 ต้น สามารถดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ช่วยดักจับฝุ่นและมลพิษในอากาศได้

รู้หรือไม่!? ต้นไม้ 1 ต้น สามารถดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ได้เฉลี่ย 9-15 กิโลกรัม/ปี ช่วยดักจับฝุ่นและมลพิษในอากาศได้ 1.4 กิโลกรัม/ปี นอกจากนี้การปลูกต้นไม้ ยังสามารถสร้างพื้นที่คาร์บอนเครดิต เพื่อเป็นกิจกรรมชดเชยค่าคาร์บอนเครดิตและซื้อขายคาร์บอนเครดิตในตลาดได้อีกด้วย ที่สำคัญ!!! ยังเป็นกิจกรรมที่จะร่วมสร้างเวลาดีๆ และอากาศดีๆ ให้กับทุกคนในครอบครัว และทุกคนบนโลกใบนี้ “You Change World Change”

เปลี่ยนขยะกรุงเทพฯ 500 ตัน/วัน ให้เป็นไฟฟ้า!🏭⚡ l ZERO WASTE THAILAND [KongGreenGreen]เปลี่ยนขยะกรุงเทพฯ 500 ตัน/วัน ให้เป็นไฟฟ้า!🏭⚡ l ZERO WASTE THAILAND [KongGreenGreen]

เปลี่ยนขยะกรุงเทพฯ 500 ตัน/วัน ให้เป็นพลังงาน ⚡️🔥 ที่โรงกำจัดขยะผลิตไฟฟ้า หนองแขม . ดูจบแล้ว อย่าลืมช่วยกันลดและแยกขยะ ♻️ ช่วยกันแชร์ บอกต่อความรู้ดีๆ หรือคอมเมนต์มาคุยกันด้วยน้า💚

คลิปฉาว:เรียกรับเงินแลกตำแหน่งคลิปฉาว:เรียกรับเงินแลกตำแหน่ง

คลิปฉาวเรียกรับเงินแลกตำแหน่ง ถ้าเป็นคุณล่ะ จะทำไหม? อย่าปล่อยให้เรื่องทุจริตคอร์รัปชัน เป็นเรื่องที่ ใครๆ ก็ทำกัน

“กาฝาก” สื่อการเรียนรู้การแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนและส่วนรวม“กาฝาก” สื่อการเรียนรู้การแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนและส่วนรวม

ชื่อผลงาน “กาฝาก” สื่อการเรียนรู้การแยกแยะระหว่างประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม สำหรับเจ้าหน้าที่รัฐ โดยสำนักป้องกันการทุจริตภาคการเมือง สำนักงาน ป.ป.ช.

“วัยรุ่นมันเหนื่อย” สื่อการเรียนรู้การแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนและส่วนรวม“วัยรุ่นมันเหนื่อย” สื่อการเรียนรู้การแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนและส่วนรวม

ชื่อผลงาน “เป็นวัยรุ่นมันเหนื่อย” สื่อการเรียนรู้การแยกแยะระหว่างประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม สำหรับวัยรุ่น โดยสำนักป้องกันการทุจริตภาคการเมือง สำนักงาน ป.ป.ช.

“คุณว่าใครชนะ” สื่อการเรียนรู้การแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนและส่วนรวม“คุณว่าใครชนะ” สื่อการเรียนรู้การแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนและส่วนรวม

ชื่อผลงาน “คุณว่าใครชนะ” สื่อการเรียนรู้การแยกแยะระหว่างประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม สำหรับประชาชนทั่วไป โดยสำนักป้องกันการทุจริตภาคการเมือง สำนักงาน ป.ป.ช.

เจ๊ดาตลาดแตกเจ๊ดาตลาดแตก

ทุกวันนี้ เรารับรู้เรื่องราว ข่าวสารส่วนใหญ่จากโลกออนไลน์…… แต่เราตัดสินเรื่องราวนั้นจากอะไร? สื่อออนไลน์ เพจดัง หรือสิ่งที่แชร์ต่อๆ กันมาแล้วคำตัดสินถูกต้องหรือไม่? คลิปวีดีโอนี้อยากให้เราได้กลับมาทบทวน คำตัดสินนั้น อีกครั้ง